Spread the love
11.1 เลขออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดอกซ์
11.4 ประโยชน์ของเซลล์เคมีไฟฟ้า
11.5 เทคโนโลยีเกี่ยวกับเคมีไฟฟ้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
- คำนวณเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบและไอออนต่าง ๆ
- อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ และระบุปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์จากเลขออกซิเดชันของสารในปฏิกิริยา
- อธิบายความหมายของครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน ตัวรีดีวซ์ และตัวออกซิไดส์
- วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน และระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ รวมทั้งเขียนครึ่งปฏิกิริยายออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์
- ทดลองและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซีไดส์ และเขียนแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์
- ดุลสมการรีดอกซ์โดยวิธีเลขออกซิเดชันและวิธีครึ่งปฏิกิริยา
- ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้า
- เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่แอโนด แคโทด และปฏิกิริยารวม
- เขียนแผนภาพครึ่งเซลล์และแผนภาพเซลล์
- ทดลองหาค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
- เปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์โดยพิจารณาจากค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักขัน
- ระบุขั้วไฟฟ้า และเขียนปฏิกิริยายออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์
- คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟ้า
- อธิบายความหมายของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
- อธิบายหลักการทำงานและเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
- อธิบายสาเหตุหรือภาวะที่ทำให้โลหะเกิดการผุกร่อนจกสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้อง และวิธีการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ
- ทดลองและอธิบายหลักการชุบโลหะโดยใช้เชลล์อิเล็กโทรลิติก
- ทดลองและอธิบายหลักการแยกสลายสารเคมีด้วยไฟฟ้า
- อธิบายหลักการทำโลหะให้บริสุทธิ์
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้า